Friday, 19 August 2022

จากกรณีที่มีข้อกังวลของประชาชน ในเรื่องของข้อมูลที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ "ฉีด" หรือ "ไม่ฉีด" วัคซีนป้องกันโควิด 19 โดยเฉพาะในกลุ่มที่มีโรคประจำตัว กลุ่มประชาชนที่ต้องรับประทานยารักษาโรค กลุ่มสติมีครรภ์และอยู่ในระยะให้นมบุตร รวมถึงกรณีอื่นๆ TJA&Cofact ตรวจสอบข้อมูลจากกรมควบคุมโรค พบว่า ก่อนหน้านี้นโยบายของรัฐบาลในการวัคซีนป้องกันโควิด-19 เริ่มทำการฉีดให้กับ 4 กลุ่มนำร่องที่มีความจำเป็นจะต้องได้รับวัคซีนก่อน ประกอบด้วย 1. บุคลากรด่านหน้าและบุคลากรทางการแพทย์ 2. ผู้ที่มีโรคประจำตัว 3. ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป 4. เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมโรค เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้เป็นกลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงในการสัมผัสเชื้อ หรือหากได้รับเชื้อแล้ว มีโอกาสติดเชื้อรุนแรงได้ ในส่วนของกลุ่มบุคคลที่มีโรคประจำตัว 7 โรค ซึ่งถือเป็นกลุ่มนำร่องที่จะได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ก่อน ประกอบด้วย กลุ่มผู้ป่วยโรคต่าง ๆ ดังนี้ 1. โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง 2. โรคหัวใจและหลอดเลือด 3. โรคไตวายเรื้อรัง 4. โรคหลอดเลือดสมอง 5. โรคอ้วน 6. โรคมะเร็ง 7.

  1. ผู้ป่วยโรคไทรอยด์กับโรคโควิด-19 - โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ผู้ป่วยโรคไทรอยด์กับโรคโควิด-19 - โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ก้อนที่ต่อมไทรอยด์ - กลุ่มโรคต่อมไทรอยด์โตแบบไม่เป็นพิษ แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ต่อมไทรอยด์โตแบบหลายก้อน และต่อมไทรอยด์โตแบบก้อนเดียว ถ้าเป็นก้อนน้ำ แพทย์อาจใช้วิธีดูดน้ำหรือเซลล์จากก้อนเนื้อไปตรวจว่าเป็นมะเร็งหรือไม่ กรณีไม่เป็นมะเร็งสามารถรักษาได้หลายวิธี ได้แก่ การผ่าตัด การใส่ยาเตตร้าไซคลินหรือแอลกอฮอล์ลงไปทำให้ก้อนที่คอมีขนาดเล็กลง ซึ่งแพทย์จะพิจารณาตามความเหมาะสม อย่างไรก็ตาม ก้อนที่ต่อมไทรอยด์อาจเกิดขึ้นใหม่ได้ ซึ่งต้องให้แพทย์วินิจฉัยและพิจารณาวิธีการรักษาต่อไป 5.

เคยได้รับการผ่าตัดต่อมไทรอยด์ (ผ่าตัดไทรอยด์เพียงบางส่วน)จะทำให้ร่างกายลดหรือหยุดการผลิตฮอร์โมน 4. พันธุกรรม 5. โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 6. เคยได้รับการรักษาด้วยการฉายกัมมันตรังสีหรือยาต้านไทรอยด์ โดยรังสีจะทำลายเซลล์ภายในต่อมไทรอยด์ ทำให้ไม่สามารถผลิตฮอร์โมนออกมาได้เพียงพอ 7. เคยได้รับการฉายรังสีที่คอหรือหน้าอกส่วนบน 8. โรคแต่กำเนิด (Congenital Disease) ทารกบางคนไม่มีต่อมไทรอยด์หรือต่อมไทรอยด์ทำงานบกพร่องมาตั้งแต่เกิด เรียกว่าโรคพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism) 9. ความผิดปกติของต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) การทำงานของต่อมใต้สมองที่ผิดปกติสามารถส่งผลต่อการผลิตฮอร์โมนในต่อมไทรอยด์ได้ ส่งผลให้ฮอร์โมนไทรอยด์ในร่างกายน้อยลง มักพบได้น้อย 10. การตั้งครรภ์ สตรีตั้งครรภ์บางรายอาจประสบภาวะขาดไทรอยด์ระหว่างตั้งครรภ์หรือหลังตั้งครรภ์ไปแล้ว เรียกภาวะที่เกิดขึ้นว่าไทรอยด์ต่ำหลังคลอด (Postpartum Hypothyroidism) เมื่อต่อมไทรอยด์อักเสบ ทำให้ร่างกายผลิตสารภูมิคุ้มกันขึ้นมาทำลายเซลล์ในต่อมไทรอยด์ ส่งผลให้ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนออกมาน้อยลง 11. การขาดธาตุไอโอดีน ธาตุไอโอดีนถือเป็นองค์ประกอบสำคัญในการผลิตฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ ทั้งนี้ ร่างกายไม่สามารถผลิตแร่ธาตุนี้ได้เอง 12.

  1. ยา รักษา โรค ไทรอยด์ ภาษาอังกฤษ
  2. คา แรง double serum
  3. ผ้า เบรค 6 ล้อ ราคา jib

พญ. ปนัดดา ศรีจอมขวัญ

ยารักษาโรคบางตัว ที่ใช้รักษาโรคเกี่ยวกับหัวใจ ภาวะทางจิต หรือโรคมะเร็งนั้น บางครั้งก็ส่งผลกระทบต่อการผลิตฮอร์โมนของต่อมไทรอยด์ ได้แก่ ยาอะมิโอดาโรน ยาลิเทียม อินเตอร์เฟอรอน ยาอินเตอร์ลูคีน 2 ภาวะแทรกซ้อนของไฮโปไทรอยด์ ไฮโปไทรอยด์หรือภาวะขาดไทรอยด์ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากอาการป่วยที่ไม่ได้รับการรักษา รวมทั้งผลข้างเคียงจากการได้รับการรักษา ดังต่อไปนี้ 1. คอพอก ต่อมไทรอยด์ที่ถูกกระตุ้นอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้ต่อมไทรอยด์ใหญ่ขึ้นหรือที่รู้จักกันในอาการคอพอก อาการคอพอกจะส่งผลต่อรูปลักษณ์ รวมทั้งยังทำให้กลืนอาหารและหายใจลำบาก 2. ปัญหาสุขภาพหัวใจ ไฮโปไทรอยด์อาจเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ เนื่องจากระดับไขมันเลว (Low-Density Lipoprotein: LDL) ที่สูง โดยภาวะขาดไทรอยด์ยังอาจทำให้หัวใจโตและภาวะหัวใจล้มเหลว 3. ปัญหาสุขภาพจิต มักเกิดอาการซึมเศร้าในช่วงแรก และอาจรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ อาจจะมีการพัฒนาการทางสมองที่ช้าได้ด้วย 4. ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy) ถ้าปล่อยให้เกิดอาการเรื้อรังเป็นเวลานาน จะทำลายปลายประสาท ซึ่งจะรู้สึกเจ็บ ชา หรือเสียวแปลบบริเวณที่เส้นประสาทถูกทำลาย และอาจก่อให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือสูญเสียการควบคุมกล้ามเนื้อ 5.

อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย 2. น้ำหนักขึ้น บวมน้ำ หน้าบวมฉุ 3. ท้องผูก 4. รู้สึกหนาวง่าย 5. ผิวและผมแห้ง 6. ซึมเศร้า 7. เสียงแหบ 8. ประจำเดือนมาไม่ปกติหรือมามากกว่าปกติ 9. มีบุตรยาก 10. ความต้องการทางเพศลดลง 11. โรคเส้นประสาทถูกกดทับที่ข้อมือ (ทำให้รู้สึกเจ็บหรือชาที่มือ) 12. หลงลืมหรือความคิดสับสน (พบในผู้ป่วยสูงอายุ) 13. นอนมากเกินไป ง่วงซึม 14. สำลักอยู่บ่อย ๆ ลิ้นมีขนาดใหญ่คับปากและยื่นออกมา ฟันแท้ขึ้นช้ากว่าปกติ 15. เจริญเติบโตช้า (ส่งผลให้รูปร่างเตี้ย) มวลกล้ามเนื้อน้อย เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ช้า 16. การเรียนรู้ช้า สาเหตุของไฮโปไทรอยด์ ต่อมไทรอยด์ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ มีผลต่อสุขภาพโดยเฉพาะกระบวนการเมตาบอลิซึม หากต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ออกมาไม่เพียงพอสามารถก่อให้เกิดภาวะขาดไทรอยด์ เกิดได้จากสาเหตุต่อไปนี้ 1. โรคภูมิคุ้มกันทำลายตนเอง (Autoimmune Disease) โรคนี้คือการที่ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายผลิตแอนติบอดี้ขึ้นมาทำลายเนื้อเยื่อภายในร่างกายตัวเอง 2. ไทรอยด์อักเสบฮาชิโมโต (Hashimoto's Thyroiditis) เมื่อต่อมไทรอยด์ผลิตแอนติบอดีขึ้นมาทำลายเนื้อเยื่อของตัวเอง ทำให้ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ออกมาได้ไม่เพียงพอจนนำไปสู่ภาวะขาดไทรอยด์ 3.

บริการทุกวันตั้งแต่ 9 โมงเช้า ถึง 3 ทุ่ม กด น้ำหนักเพิ่ม อ่อนเพลีย ขี้หนาว ซึมเศร้า ผิวแห้ง ผมบาง มีประจำเดือนมาก มีปัญหาในการนอน วอกแวกง่าย มีข้อบวมหรือปวด ท้องผูก มีระดับ cholesterol สูง กล้ามเนื้ออ่อนแรง แพทย์อาจทำการตรวจร่างกาย เจาะเลือด หรือใช้ภาพวินิจฉัยเพื่อช่วยในการตรวจหาภาวะนี้ ภาวะไทรอยด์ฮอร์โมนต่ำ (Hypothyroidism) เกิดจากอะไร?

6 ถึง 1. 7 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัมของน้ำหนักตัวหรือ 100 ถึง 125 ไมโครกรัมต่อวัน ปริมาณเริ่มต้นขึ้นอยู่กับระยะเวลาของโรคอายุของผู้ป่วย ตลอดจนการมีหรือไม่มีพยาธิสภาพร่วมกัน ส่วนใหญ่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ในคนหนุ่มสาวการรักษาเริ่มต้นด้วยโซเดียมเลโวไทรอกซิน 50 ไมโครกรัมต่อวันโดยค่อยๆ เพิ่มขึ้น โดยเพิ่ม 25 ถึง 50 ไมโครกรัม 1 ถึง 2 ครั้งในสัปดาห์ ในผู้สูงอายุที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ปริมาณเริ่มต้นของเลโวไทรอกซินโซเดียมคือ 25 ไมโครกรัมหรือ 12. 5 ไมโครกรัมต่อวัน การเพิ่มขึ้นจะยิ่งช้าลงกล่าวคือ 12. 5 ถึง 25. 0 ไมโครกรัมทุกๆ 3 ถึง 4 สัปดาห์ การปรากฏตัวของอาการเจ็บหน้าอกในผู้ป่วยไม่ถือเป็นข้อห้าม ในการแต่งตั้งเลโวไทรอกซินโซเดียม การบำบัดทดแทนที่ประสบความสำเร็จ อาจมาพร้อมกับการปรับปรุงความทนทานต่อการออกกำลังกาย ความจำเป็นในการใช้ยาลดไข้ลดลง ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ หากการติดตามการรักษาจะดำเนินการตามอาการทางคลินิก และระดับของ TSH หลังได้รับการประเมิน 6 ถึง 8 สัปดาห์หลังจากการปรับปรุงทางคลินิก และการเปลี่ยนแปลงขนาดยาใดๆ ค่าเป้าหมายของ TSH คือ 0. 5 ถึง 3.

00-20. 00 น. 02-114-7027 @poonrada ข้อความถึงร้าน