Saturday, 20 August 2022

1. ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. ใจความ คือ ข้อความที่สำคัญที่สุดในเรื่องที่อ่าน ข. พลความ คือ ข้อความที่สำคัญเสมอใจความ ค. ข้อความแสดงอารมณ์ คือ ข้อความสนับสนุนใจความ ง. ข้อคิดเห็น คือ ความจริงที่พิสูจน์ได้ 2. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของเรื่องสั้น ก. มีตัวละครน้อย ข. มีหลายฉาก ค. มีแนวคิดสำคัญเรื่องเดียว ง. ใช้บทสนทนาสั้นๆ 3. ข้อใดมีความหมายตรงกับบันทึกส่วนตัว ก. ไปรเวต ข. ไปรเวช ค. อนุทิน ง. อณุทิน 4. ข้อใดจัดเป็นจดหมายกิจธุระ ก. จดหมายอวยพรปีใหม่ ข. จดหมายแจ้งไม่มาทำงาน ค. จดหมายเชิญร่วมกิจกรรมเพื่อเยาวชน ง. จดหมายเล่าเรื่องประสบการณ์ในต่างแดน 5. ถ้าต้องการเขียนถึงความงามของคืนวันพระจันทร์เต็มดวง ควรใช้โวหารในข้อใดเขียน ก. บรรยายโวหาร ข. พรรณนาโวหาร ค. เทศนาโวหาร ง. อุปมาโวหาร 6. ข้อความในข้อใดมีคำเขียนสะกด ไม่ ถูกต้อง ก. โอกาสหน้าเข้าพรรษาเทศกาล ข. คืนใดไม่เที่ยวไนต์คลับ มันนอนไม่หลับจริงๆ ค. เหลือบไรยุงรินนิดเดียวมิให้ราคิณ ง. อ้อมอกพี่นี้จะปกป้องให้น้องอิงอุ่น 7. ข้อใดเขียนเชิงอธิบายความต้องการได้สมเหตุสมผลที่สุด ก. เขาอยากไปเมืองกาญจน์เพราะมีพลอยดี ข. เธออยากเป็นนักร้องเพราะจะได้แต่งตัวสวยๆ ค.

  1. Khrula | สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  2. ข้อสอบโวหารการเขียน
  3. เฉลยแบบทดสอบวิชาภาษาไทยม.2 ชุดที่4 | Thaitestonline.com
  4. โวหาร | krukainoi

Khrula | สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

งดพูดในเวลาโกรธ ค. อดกลั้นต่อผู้อื่น ง. ไม่หลงเชื่อข่าวร้าย ๑๖. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย คำหยาบจาบจ้วงอา- ฆาตขู่ เข็ญเฮย ไป่หมิ่นนินทาบ้าย โทษให้ผู้ใด โคลงบทนี้สอนในเรื่องใดเป็นสำคัญ ก. ไม่ควรพูดร้ายต่อใคร ข. ไม่ควรหลงเชื่อคำข่าวลือ ค. ให้มีความอดทนอดกลั้น ง. ให้มีวิจารณญาณในการรับฟัง ๑๗. จากโคลงในข้อ ๑๖ มีวรรณศิลป์ที่โดดเด่นในเรื่องใดชัดเจนที่สุด ก. การเล่นเสียง ข. การเล่นคำ ค. การใช้ภาพพจน์ ง. รสวรรณคดี ๑๘. การประพฤติในข้อใดจะช่วยลดความทิฐิลงได้ ก. ทำดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย ข. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา ค. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย ง. ขอโทษเพื่อคารวะ วายบาด หมางแฮ ๑๙. " ใครเกะกะระราน อดกลั้น " ตรงกับสำนวนใดชัดเจนที่สุด ก. อย่าเอามือซุกหีบ ข. อย่าเอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง ค. อย่าเอาทองไปลู่กระเบื้อง ง. อย่าเอามะพร้าวห้าวไปขายสวน ๒๐. คำประพันธ์ในข้อใด ไม่มี การใช้คำที่มีความหมายว่า "ไม่" ก. อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย คำคน ลือแฮ ข. กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย ค. ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน ง. ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ ๒๑. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่อง อิศปปกรณำ ก.

กระชับมิตรเมืองพี่เมืองน้อง ชวนกันไปท่องเที่ยวเมืองลาว ค. ประสบการณ์แปลกใหม่ในค่ายเยาวชนอาสาพัฒนาแหล่งน้ำ ง. สูตรและหลักการคำนวณคณิตศาสตร์ตามแนวหลักสูตรใหม่ ๘. ข้อใดบรรยายไม่เข้าพวก ก. เรานั่งแพลอยน้ำมาได้เจ็ดร้อยเมตรก็ถึงการเดินทางที่ระทึกใจ ข. ชาวบ้านที่ออกมาซักผ้ายู่ทั้งสองฝั่งต่างก็โบกมือทักทายพวกเรา ค. แพลอยผ่านแก่งอันมีโขดหินกระจายเต็มลำน้ำที่มีกระแสน้ำเชี่ยว ง. ฝุ่นสีแดงที่เกิดจากล้อบดลงดินลูกรังฟุ้งตลบจนต้องใช้ผ้าปิดหน้า โดย พรสวรรค์ คำบุญ เฉลย ๑. ค ๒. ก ๓. ค ๔. ข ๕. ก ๖. ข ๗. ง ๘. ง

ข้อสอบโวหารการเขียน

มาพบกันอีกครั้งนะคะ สำหรับวันนี้มีตัวอย่างข้อสอบการอธิบาย การบรรยายและพรรณนาโวหารมาให้เราได้ลองทำดูค่ะ ก่อนอื่นเรามาดูกันก่อนว่า โวหารแต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไร ๑. การอธิบาย เป็นการชี้แจง ขยายความให้เนื้อหาละเอียดชัดเจน โดยมีเทคนิคการอธิบายหลายแบบ เช่น การอธิบายตามลำดับขั้นตอน การอธิบายด้วยการให้คำนิยามหรือคำจำกัดความ เป็นการให้ความหมายของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การอธิบายโดยการยกตัวอย่าง การอธิบายโดยการเปรียบเทียบ การอธิบายโดยการชี้สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน เช่น การอธิบายการทำอาหาร การให้ความหมายของสิ่งต่าง ๆ การอธิบายเรื่องต่าง ๆ ๒. การบรรยาย เป็นการบอกกล่าว เล่าเรื่อง เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ต่อเนื่องกัน โดยชี้ให้เห็นถึงสถานที่ บุคคลที่เกี่ยวข้อง สภาพแวดล้อม เพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจเนื้อหาอย่างชัดเจน เกิดภาพโดยรวมว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด อย่างไร อาจใช้สำหรับการเขียนตำรา หรือเนื้อหาที่เกี่ยวกับวิชาการ เช่น เขาสร้างบ้านอยู่กลางป่าที่อุดมสมบูรณ์ ข้าง ๆ บ้านของเขามีไร่ข้าวโพดและไร่ส้มเป็นบริเวณกว้าง ทุก ๆ เช้าเขามักจะออกมาเดินเล่นในไร่ส้มพร้อมกับลูกชายของเขา ๓. การพรรณนา เป็นการกล่าวถึงเรื่องราว บุคคล สิ่งของ สถานที่ หรืออารมณ์อย่างละเอียด เป็นการพรรณนาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเฉพาะส่วน อย่างละเอียด มีการเปรียบเทียบให้ผู้อ่านเกิดภาพ มักใช้ถ้อยคำสำนวนที่ไพเราะ เกินจริง ไม่ใช่ภาษาที่ใช้กล่าวถึงในชีวิตประจำวัน เช่น ในยามเช้าเมื่อแสงสีทองสาดแสงส่องกระทบกับหยดน้ำค้างที่ใสราวกับแก้วกลางเวหาที่ค้างอ้อยอิ่งอยู่บนยอดหญ้าสีเขียวสด ดูแล้วราวกับเพชรที่เปล่งแสงระยิบระยับอยู่บนพรมกำมะหยี่สีเขียวมรกต มองแล้วช่างงามยิ่งนัก คงจะเห็นภาพและเห็นความแตกต่างของโวหารแต่ละชนิดแล้วนะคะ มาดูตัวอย่างข้อสอบกันเลยจ้า ๑.

อธินามนัย (Metonymy) คือ การเปรียบเทียบ โดยจาระไนของหลาย ๆ อย่างที่มีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันมากล่าวนำ และสรุปความหมายรวม คือใช้ชื่อเรียกรวม ๆ แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรือคนใดคนหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เลือดสุพรรณวันก่อนเคยร้อนรุ่ม หลั่งลงรุ่มฉาบดินทุกถิ่นฐาน บัดนี้เย็นเป็นสุขทุกประการ เพราะไทยหาญหวงถิ่นไว้ให้ไทยเอย (คำว่าไทย ในบทกลอนข้างต้น หมายถึง เฉพาะชาวไทย มิได้หมายถึงประเทศไทยหรือเชื้อชาติหรือสัญชาติแต่อย่างใด จึงเรียก อธินามนัย ส่วน ไทย คำหลังหมายถึงประเทศไทย) ๑๒.

เฉลยแบบทดสอบวิชาภาษาไทยม.2 ชุดที่4 | Thaitestonline.com

การอ่านจับใจความ, ติวสอบภาษาไทย, ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัย, เรียนไทยง่ายๆสไตล์ครูอ๊อฟ, ครูอ๊อฟ, สอนออนไลน์, GATเชื่อมโยง, เกทไทย, เกทเชื่อมโยง, อรุณรัชช์ แสงพงษ์, ติวไทย, อรุณรัชช์, ฤ. ว. ๒, ฤทธิยะวรรณาลัย ๒, สพฐ, ม. 6, O-NET, ติวขั้นเทพ, 9วิชาสามัญ, ภาษาไทย, RW2, สพม. 2, ตีป้อม, ตีป้อมไทย, ตีป้อมไทย9วิชาสามัญ, ตีป้อมไทยวิชาสามัญ, ติว, ติวออนไลน์, ไทยออนไลน์, สอบเข้ามหาวิทยาลัย, โอเน็ต, ภาษาพูด, ภาษาเขียน, ภาษาสื่อสาร, การเขียน, ทริคทำข้อสอบ, เทคนิคทำข้อสอบ, อธิบาย, บรรยาย, พรรณนา, โวหารการเขียน, โวหาร, บรรยายโวหาร, พรรณนาโวหาร, โวหารอธิบาย. ๒. โวหารการเขียน อธิบาย บรรยาย พรรณนา ทริคติวสอบ O-NET วิชาสามัญ และสอบทั่วไป. การ เขียน อธิบาย บรรยาย พรรณนา. เราหวังว่าการแบ่งปันที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการติดตามข้อมูลเกี่ยวกับการ เขียน อธิบาย บรรยาย พรรณนาของเรา Laurie Hurlock Laurie Hurlock เป็นบล็อกเกอร์ที่แบ่งปันความรู้และบล็อกที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยซึ่งปัจจุบันจัดการเว็บไซต์ Mukilteo Montessori นี้ หัวข้อในเว็บไซต์ของเรารวมถึงการศึกษาหลักสูตรความรู้การเรียนรู้และข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่ ของเราคุณจะพบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษาหลักสูตรการเรียนรู้และอื่น ๆ

โวหาร | krukainoi

อุปมาโวหาร ข. เทศนาโวหาร 5. เมื่อนั้น ไม้ไผ่ดีใจเป็นหนักหนา วิ่งไปกอดคอพาคลอคลา เข้ามานั่งในปราศรัยทัก มีธุระกังวลกลใดเหวย อย่านิ่งเลยบอกกูรู้ตระหนัก แต่มิได้พบพานกันนานนัก กูคิดถึงเพื่อนรักจะขาดใจ จากบทละครเรื่อง เงาะป่า พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากบทละครที่กำหนด เป็นการใช้โวหารแบบใด ก. เทศนาโวหาร 6. ล้วงเหล็กไฟในไกพ็อกออกตีต่อย เหมือนหิ่งห้อยแวบวับจับชุดจ้อง แล้วเป่าฮุดชุดติดตามทำนอง จุดฟืนทั้งสองช่วยกันซุก จากบทละครเรื่อง เงาะป่า พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บทละครที่กำหนด เป็นการใช้โวหารแบบใด ก. เทศนาโวหาร 7. ด. ช. ปัญญา ชอบอ่านหนังสือ เขาจึงอ่านหนังสืออยู่เสมอ การกระทำของ ด. ปัญญา ตรงกับสำนวนในข้อใด ก. ศิษย์มีครู ข. หนอนหนังสือ ค. คมในฝัก ง. รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม 8. ใครปฏิบัติตนตรงกับสำนวน "หนอนหนังสือ" ก. แอม ช่วยแม่ขายหนังสือทุกวัน ข. อ๋อม ซื้อหนังสือนิทานอีสปให้น้อง ค. อุ้ม อ่านหนังสือทุกวัน หลังจากทำการบ้านเสร็จ ง. อิ๋ว ขอยืมหนังสือจากห้องสมุดเพื่อไปทำรายงาน 9.... สิ้นเมืองไทยแล้วใครอยู่ได้ ชาติไทยคงไร้ความเสรี... จากเพลง เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จากเนื้อเพลงที่กำหนด ตรงกับบทอาขยาน สยามานุสสติ ในข้อใด ก.

4 ม. 5 ม. 6 กลางภาค / ปลายภาค O – NET วิชาสามัญ – ✅ ⭐ เรื่องที่จะเจอในบทเรียน ๑) บรรยายโวหาร ๒) พรรณนาโวหาร ๓) อธิบายโวหาร ๓. ๑) การชี้แจงตามลำดับขั้น ๓. ๒) การยกตัวอย่าง ๓. ๓) การเปรียบเทียบข้อเหมือนและข้อแตกต่าง ๓. ๔) การชี้สาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน ๓. ๕) การให้นิยามหรือให้ความหมาย

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทต่างๆกัน ตัวอย่างเช่น กิน – รับประทาน เขมือบ หม่ำ ฉัน ดอกบัว – โกมุท โกมล ปทุม

  1. โวหาร | krukainoi
  2. วิชา ภาษาไทย: แบบทดสอบ บทที่3
  3. วาด ภาพ ซ้อน ง่ายๆ

โวหาร คือ การใช้ถ้อยคำอย่างมีชั้นเชิง เป็นการแสดงข้อความออกมาในทำนองต่างๆ เพื่อให้ข้อความได้เนื้อความดี มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง ในการเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่างๆ กัน แล้วแต่ชนิดของ ประเภทของโวหารภาพพจน์ ๑. อุปมาโวหาร (Simile) อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คำเชื่อมที่มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า " เหมือน " เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ถนัด หม้าย เสมอ ฯลฯ เช่น ปัญญาประดุจดังอาวุธ จมูกเหมือนลูกชมพู่ ใบหูเหมือนทอดมันร้อนๆ เป็นต้น ๒. อุปลักษณ์ ( Metaphor) อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา ตัวอย่างเช่น ขอเป็นเกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์ ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ ๓. สัญลักษณ์ ( symbol) สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความ ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป ทั้งนี้อาจเป็นเพราะผู้ประพันธ์ต้องการเปรียบเทียบเพื่อสร้างภาพพจน์หรือมิฉะนั้นก็อาจจะอยู่ในภาวะที่กล่าวโดยตรงไม่ได้ เพราะไม่สมควรจึงต้องใช้สัญลักษณ์แทน ตัวอย่างเช่น เมฆหมอก แทน อุปสรรค สีดำ แทน ความตาย ความชั่วร้าย สีขาว แทน ความบริสุทธิ์ กุหลาบแดง แทน ความรัก แทน คนชั้นสูง กา แทน คนต่ำต้อย ดอกไม้ แทน ผู้หญิง แสงสว่าง แทน สติปัญญา ๔.