Friday, 19 August 2022

โบร์ ได้เสนอแบบจาลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นมาโดยนาแนวคิดเรื่อง ควอนตัมของ พลังงานของพลังค์ มาใช้กับแบบจาลองอะตอมของ รัทเทอร์ฟอร์ด พร้อมทั้งเสนอสมมติฐานขึ้น ใหม่ 2 ข้อ ได้แก่ • อิเล็กตรอนมีวงโคจรรอบนิวเคลียสเป็นชั้นๆ โดยในแต่ละวงโคจร จะมีโมเมนตัมเชิงมุม • เมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนวงโคจรจะคายหรือดูดพลังงาน เป็น 1 ควอนตัม 30. จากทฤษฎีของโบร์ทาให้แสดงได้ว่า อะตอมไฮโดรเจน จะมี 1. รัศมีอะตอม; 2. อัตราเร็วของอิเล็กตรอน; 3. พลังงานของอะตอม; 31. ระดับพลังงาน - 13. 6 eV เป็นระดับพลังงานของอิเล็กตรอน อะตอมไฮโดรเจนวงในสุด เรียกว่า สถานะพื้น (ground state) ถ้าอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานสูงกว่าสถานะพื้นหรือในวงโคจร ที่ n ≥ 2 เรียกสภาวะนี้ว่า สถานะกระตุ้น (excited state) 32. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน จะเกิดจากการเปลี่ยนวงโคจรของ อิเล็กตรอน คานวณได้จากความสัมพันธ์จากสูตร หรือใช้สูตร Δ E (หน่วยเป็น eV) กับ λ (หน่วยเป็นนาโนเมตร) จากสูตร 33. ภาพของอะตอมจากทฤษฎีของเบอร์ (Bohr) คือ • ก. อิเล็กตรอนจะวิ่งวนรอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงโดยไม่แผ่คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ าออกมา • ข. อิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเป็นเสมือนกลุ่มหมอกที่ห่อหุ้มนิวเคลียส อยู่ที่ใดมีหมอกหนาแน่นมากจะมีโอกาสพบอิเล็กตรอน ณ ที่นั้นมาก • ค.

  1. เนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม - บทเรียนออนไลน์ เรื่อง อะตอม
  2. สร้างอะตอม - อะตอม, โครงสร้างอะตอม, สัญลักษณ์ไอโซโทป - PhET
  3. อะตอท

เนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม - บทเรียนออนไลน์ เรื่อง อะตอม

อิเล็กตรอนไม่ได้เคลื่อนที่เป็นวงกลม แต่เคลื่อนที่ไปรอบๆนิวเคลียส เป็นรูปทรงต่างๆตามระดับพลังงาน 2. ไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้เนื่องจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมาก และเคลื่อนที่รวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทั้งอะตอม 3. อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส บริเวณที่มีหมอกทึบแสดงว่ามีโอกาสพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีหมอกจาง ดังรูปที่แสดงไว้

  1. เนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม - บทเรียนออนไลน์ เรื่อง อะตอม
  2. อะตอมคืออะไร - บทเรียนออนไลน์ เรื่อง อะตอม
  3. ดูหนัง Fast & Furious 6 (2013) เร็ว แรงทะลุนรก 6 - ดูหนังออนไลน์ V8movieHD ดูหนังฟรี หนังใหม่ 2022
  4. กาแฟ cash back
  5. The Expendables 2 (2012) โคตรคน ทีมเอ็กซ์เพนเดเบิ้ล - หนังฟรี : เต็มเรื่อง
  6. โครงสร้างอะตอม
  7. Akru mercury ville โทร

จะเป็นพลังงานที่ได้จากการเร่งอิเล็กตรอนผ่านความต่าง ศักย์ 1 โวลต์ (เร่งอิเล็กตรอน • ผ่านความต่างศักย์ V โวลต์ จะทาให้อิเล็กตรอนมีพลังงานเป็น V อิเล็กตรอนโวลต์) 25. Electron transitions and their resulting wavelengths for hydrogen. Energy levels are not to scale. 26. การเคลื่อนอิเล็กตรอน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่คาย ชื่อชุดสเปกตรัม(อนุกรม) จากชั้นบน ลงมา ชั้น 1 รังสีอัลตราไวโอเลต ไลแมน จากชั้น 6 ลงมา ชั้น 2 แสงสีม่วง (410 nm) บัลเมอร์ จากชั้น 5 ลงมา ชั้น 2 แสงสีน้าเงิน(434 nm) จากชั้น 4 ลงมา ชั้น 2 แสงสีน้าทะเล (484 nm) จากชั้น 3 ลงมา ชั้น 2 แสงสีแดง (656 nm) จากชั้นบน ลงมา ชั้น 3 รังสีอินฟาเรด พาสเชน จากชั้นบน ลงมา ชั้น 4 รังสีอินฟาเรด แบรกเกต จากชั้นบน ลงมา ชั้น 5 รังสีอินฟาเรด ฟุนด์ ตัวอย่างการคายพลังงานของอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเกิดเป็นสเปกตรัมดังนี้ 27. อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและ นิวตรอน อยู่ภายในนิวเคลียส ส่วน อิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสเป็น ชั้น ๆ หรือเป็นระดับพลังงานซึ่งมีค่า เป็นขั้น ๆ อย่างเด็ดขาด ไม่มีค่าที่ ต่อเนื่องกัน 28. สรุปผลการทดลอง การเปล่งแสงของธาตุไฮโดรเจน เกิดจากอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจากวงโคจรสูง ไปสู่วงโคจรต่า พร้อมทั้งคายพลังงานในรูปแสงสีต่าง ๆ ศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของธาตุ โดยบรรจุแก๊สไฮโดรเจนในหลอดปล่อย ประจุ จากนั้นให้พลังงานเข้าไปพบว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนจากขั้วบวกไปขั้วลบ ชนกับแก๊สไฮโดรเจน จากนั้นเปล่งแสง ออกมาผ่านปริซึมทาให้เราเห็นเป็นเส้น สเปกตรัมสีต่าง ๆ ตกบนฉากรับภาพ 29.

สร้างอะตอม - อะตอม, โครงสร้างอะตอม, สัญลักษณ์ไอโซโทป - PhET

เมื่ออิเล็กตรอนได้รับพลังงาน จึงขึ้นไปอยู่ในระดับพลังงานที่สูงขึ้น ทำให้อะตอมไม่เสถียร อิเล็กตรอนจึงคาย พลังงานเท่ากับพลังงานที่ได้รับเข้าไปพลัง งานส่วนใหญ่ที่คายออกอยู่ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปรากฏเป็นเส้น สเปกตรัม 2. การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน อาจมีการเปลี่ยนข้ามขั้นได้ 3. อิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่ำจะอยู่ใกล้นิวเคลียส 4. ระดับพลังงาต่ำอยู่ห่างกันมากกว่าระดับพลังงานสูง ระดับพลังงานยิ่งสูงขึ้นจะยิ่งอยู่ชิดกันมากขึ้น สรุปแบบจำลองอะตอมของ นีลส์ โบร์ 1. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นชั้นๆตามระดับพลังงาน และแต่ละชั้นจะมีพลังงานเป็นค่าเฉพาะตัว 2. อิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสมากที่สุดจะเรียกว่าระดับพลังงานต่ำสุดยิ่งอยู่ห่างจากนิวเคลียสมากขึ้นระดับพลังงานจะยิ่งสูงขึ้น 3. อิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสมากที่สุดจะเรียกระดับพลังงาน n = 1 ระดับพลังงานถัดไปเรียกระดับพลังงาน n =2, n = 3, ……. ตามลำดับ หรือเรียกเป็นชั้น K, L, M, N, O, P, Q.... แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก จากแบบจำลองอะตอมของโบร์ ไม่สามารถอธิบายสมบัติบางอย่างของธาตุที่มีหลายอิเล็กตรอนได้จึงมีการศึกษาเพิ่มเติมและเชื่อว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นได้ทั้ง คลื่นและอนุภาคการศึกษาเพิ่มเติมและเชื่อว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นได้ทั้ง คลื่นและอนุภาคสรุปแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกแบบจำลองนี้เชื่อว่า 1.

จากการวิเคราะห์สเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน พบว่าชุดความถี่ ของเส้นสเปกตรัมในช่วงที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่านั้นมี ชื่อเรียกว่า ก. Lyman series ข. Balmer series ค. Paschen series ง. Brackett series 22. ในช่วงระดับพลังงานต่าสุดสามระดับแรกของอะตอมไฮโดรเจน คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ าที่ควรพบจะอยู่ในชุดความถี่ที่เรียกว่า ก. ชุดไลมานและชุดบาล์มเมอร์ ข. ชุดไลมานและชุดพาเชน ค. ชุดบาล์มเมอร์และชุดพาเชน ง. ชุดไลมาน ชุดบาล์มเมอร์ และชุดพาเชน 23. วัตถุดา (Black Body) คือ วัตถุที่มีการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า พลังงานที่แผ่ออกมาจากวัตถุดาแต่ละชนิดจะขึ้นอยู่กับแอมพลิจูดการสั่นของอะตอม จานวนอะตอมในวัตถุ มีขนาดของพลังงานเป็น E = hf, 2hf, 3hf,..... สามารถเขียนเป็นสมการได้ ว่า E = n(hf) เมื่อ n คือ เป็นตัวเลขจานวนเต็มบวก โดย n = 1, 2, 3,.... f คือ ความถี่ธรรมชาติการสั่นของอะตอมคู่ ( Hz) h คือ ค่านิจของแพลงค์ ( h = 6. 63 x 10-34 J. s) 24. • ปริมาณ hf จึงหมายถึง 1 ก้อนพลังงานแสง ซึ่งเรียกว่า 1 ควอนตัม หรือ 1 โฟตอน (1 เม็ดแสง) • อิเล็กตรอนโวลต์ (eV) เป็นหน่วยวัดพลังงานสาหรับอนุภาคขนาดเล็ก โดย 1 eV = 1. 6 x 10 -19 จูล • พลังงาน 1 eV.

อะตอท

2399 - 2483) ได้ทำการทดลองเพิ่มขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วในแนวดิ่ง กับหลอดรังสีแคโทดที่ดัดแปลง พบว่าตำแหน่งของจุดสว่างเบนเข้าหาขั้วบวกของสนามไฟฟ้า และเมื่อเปลี่ยนชนิดของแก๊สที่บรรจุในหลอดและโลหะที่ใช้เป็นแคโทด พบว่ารังสีที่เกิดขึ้นยังคงเบนเข้าหาขั้วบวกเหมือนเดิม เมื่อคำนวณหาอัตราส่วนประจุต่อมวล พบว่าได้ค่าเท่ากับ 1.

7 0A เป็นความยาวคลื่นของแสงสีเหนือม่วง) 15. This spectrum was produced by exciting a glass tube of hydrogen gas with about 5000 volts from a transformer. It was viewed through a diffraction grating with 600 lines/mm. The colors cannot be expected to be accurate because of differences in display devices. 16. The spectral series of hydrogen, on a logarithmic scale. 17. 18. 1. ระดับพลังงานในสุด ( n = 1) จะเป็นระดับที่มีพลังงานต่า สุด และ ถัดออกมาจะเป็น ระดับที่มีพลังงานมากขึ้นเรื่อยๆ และปกติ อิเล็กตรอนชอบที่จะอยู่ชั้นในสุด ( n = 1) เพราะจะมี เสถียรภาพมาก ที่สุด ภาวะเช่นนี้เรียกสภาวะพื้น( Ground State) 19. 2. หากอิเล็กตรอนได้รับพลังงานที่เหมาะสม อิเล็กตรอนจะดูด พลังงานนั้นแล้วเคลื่อนย้ายจากระดับพลังงานต่าขึ้นไประดับพลังงาน สูงกว่าเดิม เรียกภาวะเช่นนี้ว่าเป็นสภาวะกระตุ้น ( Excited State) แต่ภาวะถูกกระตุ้นนี้อิเล็กตรอนจะมีพลังงานมากเกินไปจึงไม่เสถียร อิเล็กตรอนจะคายพลังงานส่วนหนึ่งออกมแล้วเคลื่อนย้ายลงมาอยู่ใน ระดับพลังงานที่ต่ากว่าเดิม 20. 3. พลังงานที่อิเล็กตรอนคายออกมาจะอยู่ในรูปของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ าเสมอ 21.