Friday, 19 August 2022

เคล็ดลับการเงิน ​ ใ นการทำธุรกิจสิ่งที่ผู้ประกอบการกลัวที่สุดคือ การมาเยือนของเจ้าหน้าที่สรรพากร เพราะมองว่าภาษีเป็นค่าใช้จ่าย จึงอยากจ่ายน้อยๆ หรือบางคนก็กลัวจะโดนเรียกเก็บภาษีย้อนหลัง ซึ่งเดิมผู้ประกอบการต้องลุ้นตัวโก่งว่าสรรพากรจะเข้ามาตรวจสอบธุรกิจเมื่อไหร่ และจะโดนอะไรบ้าง แต่สรรพากรยุค 4. 0 มีการพัฒนาระบบตรวจสอบขึ้นมาใหม่ โดยนำข้อมูล IT มาใช้ในการวิเคราะห์ภาษีของแต่ละธุรกิจ ซึ่งระบบนี้เรียกว่า RBA (Risk Based Audit System) เป็นระบบที่มุ่งเน้นการจัดเก็บภาษีหรือตรวจสอบภาษีที่มีความโปร่งใส เพราะใช้ระบบในการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากข้อมูลทั้งภายในและภายนอกกรมสรรพากร โดยข้อมูลที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ 1. ข้อมูลการยื่นภาษีของบริษัทผ่านระบบสรรพากร ได้แก่ ภงด. 50 ภ. พ. 30 ภงด. 3 ภงด. 53 ภงด. 1 ภงด. 2 2. ข้อมูลของบริษัทที่มีในบันทึกของหน่วยงานภายนอก เช่น ข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต การไฟฟ้า การประปา ข้อมูลของโรงงานอุตสาหกรรม 3. ข้อมูลของบริษัทจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลังไปในอดีต 3-5 ปี 4. ข้อมูลสนับสนุนการบริหารจัดเก็บภาษี หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลในด้านต่างๆ ของแต่ละบริษัทแล้ว เจ้าหน้าที่กรมสรรพากรจะมี 4 มาตรการในการเข้าไปตรวจเยี่ยมผู้ประกอบการ ซึ่งมาตรการจะค่อยๆ เพิ่มระดับความรุนแรงขึ้นไปเรื่อยๆ เริ่มต้นจาก 1.

  1. "กรมสรรพากร" เริ่มตรวจเงินเข้าบัญชีแล้ว 3,000 ครั้งขึ้นไป ถูกส่งข้อมูลแน่นนอน

"กรมสรรพากร" เริ่มตรวจเงินเข้าบัญชีแล้ว 3,000 ครั้งขึ้นไป ถูกส่งข้อมูลแน่นนอน

สรรพากรเริ่มแล้ว ตรวจรายการเงินเข้าบัญชีบุคคล สถาบันการเงินต้องส่งข้อมูลธุรกรรมลักษณะเฉพาะให้กับกรรมสรรพากร มีผลแล้วพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรเพื่อรองรับระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ที่สถาบันการเงินต้องส่งข้อมูลธุรกรรมลักษณะเฉพาะให้กับกรรมสรรพากร เงินเข้า 3, 000 ครั้งขึ้นไป เงินเข้า 400 ครั้ง และยอดรวม 2 ล้านบาทขึ้นไป กฎหมายประกาศ 21 มี. ค. 62 ส่งข้อมูล 31 มี.

ข้อมูลต่อปี ดูเป็นรายธนาคาร ไม่ได้รวมทุกธนาคาร 2. ถ้าไม่เข้าทั้ง 2 เงื่อนไข 400 ครั้งและ 2 ล้าน ไม่ถูกส่ง 3.

สรรพากร ตรวจ บัญชี ธนาคาร tmb
  • แล้ว - วิกิพจนานุกรม
  • สรรพากร ตรวจ บัญชี ธนาคาร tmb
  • ที่ดินติดชายหาด (thitintitchaiat) แปลว่า - การแปลภาษาอังกฤษ
  • กรมสรรพากรเริ่มแล้ว ! ตรวจเงินเข้าบัญชี เงินเข้า 3,000 ครั้งขึ้นไป ถูกส่งข้อมูลแน่นนอน - thousandreason
  • Hq thonglor เช่า live
  • วิจัย การ ส่งเสริม สุขภาพ
  • Fitness first พระราม 3.2
  • RBA ระบบตรวจสอบภาษีใหม่ - ธนาคารกสิกรไทย
  • สรรพากร ตรวจ บัญชี ธนาคาร ธอส
  • เกม ben 10 omniverse all aliens
  • Cpr guideline 2019 ไทย 2020

และเรามีบัญชีไว้ทั้งหมดกี่ธนาคาร แต่ละธนาคารเข้าเงื่อนไขไหม?

สรรพากร ตรวจ บัญชี ธนาคาร กสิกร

หลักเกณฑ์ที่ธนาคารต้องส่งข้อมูลให้กรมสรรพากร | Prosoft ERP "ณ วันที่ 23 ธันวาคม 2562 " กรมสรรพากรได้ออกกฎกระทรวงฉบับที่ 355 กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการรายงานข้อมูล ให้สถาบันการเงินและผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับการฝากหรือรับโอนเงินเข้าบัญชีของบุคคลแก่กรมสรรพากร ดังนั้นได้มีการสรุปคือ 1. ลักษณะของธุรกรรม มี 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. การฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกันตั้งแต่ 3, 000 ครั้งขึ้นไปต่อปี 2. การฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกันตั้งแต่ 400 ครั้ง และมียอดรวมของธุรกรรมฝากหรือรับโอนเงินรวมกันตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไปต่อปี 2. เกณฑ์การนับ นับจำนวนครั้งและจำนวนเงินทุกครั้งที่ได้มีการฝากหรือรับโอนผ่านบัญชีของบุคคลผู้เป็นเจ้าของบัญชี กรณีกระทำผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ก็นับเช่นเดียวกัน 3. ผู้ที่มีหน้าที่รายงาน 1. สถาบันการเงินของรัฐและเอกชน เช่น ธนาคาร บริษัทเงินทุน เป็นต้น 2. ผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์หรือ E-Money ตามกฎหมายว่าด้วยระบบชำระเงิน เช่น TrueMoney Rabbit Line Pay เป็นต้น ตัวอย่าง: นาย A มีชื่อเป็นเจ้าของบัญชีของธนาคาร B 5 บัญชีมีการฝากและรับโอนผ่านบัญชีของนาย A ทั้ง 5 บัญชีรวมกัน (1) ตั้งแต่ 3, 000 ครั้งขึ้นไป หรือ (2) ตั้งแต่ 400 ครั้งขึ้นไปและมียอดรวมในการฝากหรือรับโอนรวมกันตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไปต่อปี ดังนั้น ธนาคาร B มีหน้าที่ต้องรายงานข้อมูลของนาย A ให้แก่กรมกสรรพากร 4.

สรรพากร ตรวจ บัญชี ธนาคาร ธกส