Friday, 19 August 2022

• ๔. อติพจน์ ( Hyperbole) อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึก ทาให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวที่ ทาให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่างชัดเจน 11. • ตัวอย่างเช่น คิดถึงใจจะขาด คอแห้งเป็นผง ร้อนตับจะ แตก หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่าฟ้า คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก • อวพจน์หรืออติพจน์โวหาร เป็นการกล่าวเปรียบเทียบโดยการกล่าวให้ ผิดจากความเป็นจริง ถ้ากล่าวเกินจริงเรียกว่า อติพจน์ ถ้ากล่าวน้อยกว่า ความเป็นจริงเรียกว่า อวพจน์ ดังตัวอย่าง • อติพจน์ = เหนื่อยสายตัวแทบขาด • อวพจน์ = มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรือนไหว เล็กเท่าขี้ตาแมว เพียงชั่วลัดนิ้วมือเดียว รอสักอึดใจเดียว 12. • ๕. บุคลาธิษฐาน ( Personification) บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ ( บุคลาธิษฐาน มาจากคาว่า บุคคล + อธิษฐาน หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล) 13.

แบบทดสอบหลังเรียน

  1. วิธีทำซอสเบชาเมล
  2. แบบฝึกทักษะพัฒนาการใช้โวหารภาพพจน์ในงานประพันธ์ - GotoKnow
  3. แบบฝึกเสริมทักษะ - ใต้ร่มน้ำเงินเหลือง

ฟังเทศน์หาวนอน ดูละครตาสว่าง ข. ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราชย์ เยียววิวาทชิงฉัตร ค. หนึ่งบิดามารดาคณาญาติ ให้ผุดผาดผาสุกเป็นนิจสิน ง. อุระเรียมเกรียมตรมอารมณ์ร้อน ระอาอ่อนอกใจมิใคร่หาย ๒๒. ข้อใดเป็นโวหารภาพพจน์ชนิดสัทพจน์ ก. มองซิมองทะเล เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน ข. ติ๊กตอก เจ้านาฬิกา ปลุกฉันให้มาอยู่ในความรัก ค. ปลิดปลิวเคว้งคว้าง ชีวิตฉันดั่งใบไม้ที่หลุดลอย ง. เอาความขมขื่นไปทิ้งแม่โขง ให้มันไหลลง ๆๆๆ ทะเล ๒๓. ข้อใดมีลักษณะเป็นโวหารภาพพจน์กล่าวเกินจริง ก. สถานที่ประชาชนไม่บังอาจจุดตะเกียง ขุนนางอาจจุดกองไฟได้ ข. คนบางประเภทเป็นเหมือนตุ้มอันหนักที่คอยบั่นทอนความเจริญทางปัญญา ค. วันเวลาอย่างนี้ใครบางคนอาจจะมองเห็นดวงจันทร์เศร้าโศกและดวงดาวคร่ำครวญ ง. ถึงตายแล้วเกิดใหม่สักแสนชาติ ที่จะให้ละความจงรักภักดีต่อชาตินั้นอย่าได้หวังเลย ๒๔. ข้อใดใช้โวหารภาพพจน์ชนิดอธิพจน์ ก. ร้อนตับจะแตก ข. เหนื่อยสายตัวแทบขาด ค. คอยฉันสักอึดใจเดียวเท่านั้น ง. หลอกหลอนหัวใจฉันไปขยี้ ๒๕. คำประพันธ์ในข้อใด ไม่ใช้ สัทพจน์ ก. ใต้เตียงเสียงหนูก็กุกกก แมงมุมทุ่มอกที่ริมฝา ข. อีวันทองตัวมันเหมือนรากแก้ว ถ้าตัดโคนขาดแล้วก็ใบเหี่ยว ค.

ผู้แต่งกัณฑ์มัทรีเป็นรัตนกวี ๒ สมัยคือสมัย.................................... และสมัย..................................... ๙. "มหาเวสสันดรชาดก" อีกกัณฑ์หนึ่งที่ผู้แต่งกัณฑ์มัทรี ได้รจนาขึ้น คือ กัณฑ์....................................... ๑๐. ผลงานของผู้แต่งที่แต่งในสมัยกรุงธนบุรี ได้แก่.................................................................................. แบบฝึกหัดที่ ๑. ๒เรียงร้อยเรื่องราว จงเรียงลำดับคำประพันธ์ต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง ™ ____________ ๑. วิ่งพลางนางทรงกันแสงพลาง ยะเหยาะเหย่าทุกฝีย่างไม่หย่อนหยุด ๒. เหตุไฉนไยพระลูกแก้วจึ่งมิมาเล่าหลากแก่ใจ ๓. เทพเจ้าก็สังเวชในวิญญาณ ก็พากันอุฏฐาการคลาไคลให้มรคาแก่นางพระยามัทรี ๔. ส่วนเทพเจ้าทั้งสามองค์ได้ทรงฟังพระเสาวนีย์ ๕. พระมัทรีเธอไหว้วอนขอหนทาง พระพักตร์นางนองไปด้วยน้ำพระเนตร ๖. ประหลาดแล้วแลไม่เห็นก็ใจหาย ดั่งว่าชีวิตนางจะวางวายลงทันที ๗. พักหนึ่งก็ถึงที่สุดบริเวณพระอาวาส ที่พระลูกเจ้าเคยประพาสแล่นเล่น ๘. จึ่งตรัสเรียกว่าแก้วกัณหาพ่อชาลีของแม่เอ่ย แม่มาถึงแล้ว ๙. แต่ก่อนแต่ไรสิพร้อมเพรียง ๑๐. พอแจ่มแจ้งแสงสีศศิธร นางก็ยกหาบคอนขึ้นใส่บ่า เปลื้องเอาพระภูษามาคาด พระถันให้มั่นคง แบบฝึกหัดที่ ๑.

ท่านมาออกปากขอสองกุมารพระลูกรักเราดังดวงตา เราก็ตัดห่วงเสน่หาให้แก่พราหมณ์เฒ่า ๕. "ตั้งแต่จากเมืองมาอยู่ไพรเข็ญใจไร้ทรัพย์แสนทวี มาพบขุมนิธีที่ธรรมชาติก็มีใจประสาทหรรษา" ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์ ค. อธิพจน์ ง. บุคลาธิษฐาน ๖. "อกนางพระธรณีจะแยะแยกแตกกระจายอยู่รอนๆ" ค. สัญลักษณ์ ง. บุคลาธิษฐาน ๗. "กุมแสงกรายกรนาด ยุรยาตรอย่างไกรสร" ค. อวพจน์ ๘. "สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้" ก. เล่นคำ ข. สัทพจน์ ค. อัพภาส ง. เล่นเสียงวรรณยุกต์ ๙. ความในข้อใดใช้วิธีการ "ปฏิพากษ์" ในการนำเสนอสาร ก. ความเกิดดับธรรมดาอุทาหรณ์ ข. วนเวียนหว่างทุกข์สุขทุกวันวาร ค. เกิดแล้วก่อล่อแล้วเร้นเย็นแล้วร้อน ง. วนและวิ่งคืนและวันหวั่นและไหว ๑๐. ศิลปะการประพันธ์ข้อใดใช้อัพภาสเลียนเสียงธรรมชาติ ก. ชะโดดุกกระดี่โดด สลาดโลดยะหยอยหยอย กระเพื่อมน้ำพะพร่ำพรอย กระฉอกฉานกระฉ่อนชล ข. พลหัวหน้าพะกัน แกว่งดาบฟันฉะฉาด แกว่งดาบฟันฉะฉัด ซ้องหอกซัดยะยุ่ง ซ้องหอกพุ่งยะย้าย ค. หางนกยูงระย้าเรี่ยคลอเคลียน้ำ แพนดอกฉ่ำช้อยช่อวรวิจิตร งามดั่งเปลวเพลิงป่ามานิรมิต สร้อยโสภิตอภิรุมพุ่มหัวใจ ง. เพชรน้ำค้างค้างหล่นบนพรมหญ้า เย็นหยาดฟ้ามาฝันหลงวันใหม่ เคล้าเคลียหยอกดอกหญ้าอย่างอาลัย เมื่อแฉกดาวใบไผ่ไหวตะวัน" ๑๑.

เฉลยแบบฝึกหัดทบทวน บทพากย์เอราวัณ

ดอกมะเดื่อหรือจะเจือดอกพะยอม ว่านักแม่จักตรอมระกำใจ ค. สองมือปิดขาเหมือนท่าเปรต ใครมาเทศน์เอาผ้ากูไปไหน ง. ดังทองคำทำเลี่ยมปากกะลา หน้าตาดำเหมือนมินหม้อมอม 12. "ครานั้นจึงโฉมเจ้าวันทอง เศร้าหมองด้วยลูกเป็นหนักหนา พ่อพลายงามทรามสวาดิของแม่อา แม่โศกาเกือบเจียนจะบรรลัย ใช่จะอิ่มเอิบอาบด้วยเงินทอง มิใช่ของตัวทำมาแต่ไหน ทั้งผู้คนช้างม้าแลข้าไท ไม่รักใคร่เหมือนกับพ่อพลายงาม ทุกวันนี้ใช่แม่จะผาสุก มีแต่ทุกข์ใจเจ็บดังเหน็บหนาม ต้องจำจนทนกรรมที่ติดตาม จะขืนความคิดไปก็ใช่ที" คำประพันธ์นี้นางวันทองต้องการบอกให้รู้อะไร ก. บอกถึงความวิตกกังวล ข. รำพันถึงความทุกข์ใจ ค. ให้คำแนะนำ ง. แสดงความท้อใจ 13. ข้อใดมีน้ำเสียงเชิงตัดพ้อ ก. มีธุระสิ่งไรในใจเจ้า พ่อจงเล่าแก่แม่แล้วกลับบ้าน ข. เมื่อพ่อเจ้ากลับมาแต่เชียงใหม่ ไม่เพ็ดทูลสิ่งไรแต่สักอย่าง ค. เล่าความบอกผัวด้วยกลัวภัย ประหลาดใจน้องฝันพรั่นอุรา ง. มาอยู่ไยกับอ้ายหินชาติ แสนอุบาทว์ใจจิตริษยา 14. "พี่ผิดจริงแล้วเจ้าวันทอง เหมือนลืมน่องหลงเลือนทำเชือนเฉย" ข้อความนี้ใครสำนึกผิดในเรื่องใด ก. ขุนช้างสำนึกผิด ในเรื่องที่หึงหวงนางวันทองมากเกินไป ข. ขุนช้างสำนึกผิด ในเรื่องไม่ดูแลนงวันทองให้ดี จนถูกพลายงามมาลักตัวไป ค.

แบบฝึกหัด โวหารภาพพจน์ พร้อม เฉลย

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน เรื่อง โวหารภาพพจน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖............................................................................................................................. คำชี้แจง ๑) ข้อสอบมีทั้งหมด ๓๐ ข้อ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบ ๓๐ นาที ๒) ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย Í ข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ๑. ข้อใดมีโวหารภาพพจน์เช่นเดียวกับ " หางนกยูงระย้าเรี่ยคลอเคลียน้ำ " ก. ก้อยกุ้งปรุงประทิ่นวางถึงลิ้นดิ้นแดโดย ข. เมื่อลมพัดใบไม้สะบัดโบกมือเรียกใคร ค. สุดเอยสุดสวาท โฉมประหลาดล้ำเทพอัปสร ง. เหลือบเห็นสตรีวิไลลักษณ์ พิศพักตร์ผ่องเพียงแขไข ๒. " สายธาราดั่งนาฬิกาแก้ว แว่วแว่วจ๊อกจ๊อกเซาะซอกหิน " ข้อความที่ขีดเส้นใต้ใช้ภาพพจน์ ชนิดใด ก. สัทพจน์ ข. สัญลักษณ์ ค. บุคลวัต ง. อุปมา ๓. ข้อใดใช้ภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ ก. เธอคือโคมทองของชีวิตพี่ ข. เสียงรถด่วนขบวนสุดท้าย ค. ฝากเพลงนี้มากับสายลมผ่าน ง. หากมีเวลามาเยี่ยมบ้านนาบ้างเธอพี่เน้อ ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ข้อ ๔-๗ ก. อุปมา ข. อุปลักษณ์ ง. สัทพจน์ ๔. " ธรรมชาติต่างสลดหมดความคะนองทุกสิ่งทุกอย่าง " เป็นโวหารภาพพจน์ชนิดใด ๕. "

โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี

โวหารภาพพจน์ โวหาร คือ การใช้ถ้อยคำอย่างมีชั้นเชิง เป็นการแสดงข้อความออกมาในทำนองต่างๆ เพื่อให้ข้อความได้เนื้อความดี มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง ในการเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่างๆ กัน แล้วแต่ชนิดของ ประเภทของโวหารภาพพจน์ ๑. อุปมาโวหาร (Simil e) อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คำเชื่อมที่มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า " เหมือน " เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ถนัด หม้าย เสมอ ฯลฯ เช่น ปัญญา ประดุจดัง อาวุธ จมูก เหมือน ลูกชมพู่ ใบหู เ หมือน ทอดมันร้อนๆ เป็นต้น ๒. อุปลักษณ์ ( Metaphor) อุปลักษณ์ ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา ตัวอย่างเช่น ขอ เป็น เกือกทองรองบาทา ไปจนกว่าชีวันจะบรรลัย เธอ เป็น ดินหรือเธอ เป็น หญ้าแท้จริงมีค่ากว่าใครนิรันดร์ ชาวนา เป็น กระดูกสันหลังของชาติ ๓. สัญลักษณ์ ( symbol) สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความ ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป ทั้งนี้อาจเป็นเพราะผู้ประพันธ์ต้องการเปรียบเทียบเพื่อสร้างภาพพจน์หรือมิฉะนั้นก็อาจจะอยู่ในภาวะที่กล่าวโดยตรงไม่ได้ เพราะไม่สมควรจึงต้องใช้สัญลักษณ์แทน ตัวอย่างเช่น เมฆหมอก แทน อุปสรรค สีดำ แทน ความตาย ความชั่วร้าย สีขาว แทน ความบริสุทธิ์ กุหลาบแดง แทน ความรัก หงส์ แทน คนชั้นสูง กา แทน คนต่ำต้อย ดอกไม้ แทน ผู้หญิง แสงสว่าง แทน สติปัญญา ๔.

แต่เดินมาก็บังเกิดประหลาดลางขึ้นในกลางพนาลีพบพญาราชสีห์สองเสือทั้ง สามสัตว์สกัดหน้าไม่มาได้ ™ ____________ ๑๓. ถึงกระไรจะคุ้มตัวก็ทั้งยากน่าหลากใจ อกของใครจะอาภัพยับพิกล... ™ ____________ ๑๔. เจ้าเคยมาอาศัยนั่งนอนประทับร้อนสำราญร่มรื่นๆ สำรวลเล่นเย็นสบาย ™ ____________ ๑๕. ได้ยินแต่เสียงดุเหว่าละเมอร้องก้องพนาเวศ พระกรรณเธอสังเกตว่าสองดรุณเยาว เรศเจ้าร้องขานอยู่แว่วๆ ™ ____________ ๑๖. พระน้องแก้วเจ้าอย่าโศกศัลย์ จงตั้งจิตของเจ้านั้นให้โสมนัสศรัทธา ในทางอันก่อ กฤดาภินิหารทานบารมี ™ ____________ ๑๗. ครั้นท้าวเธอค่อยคลายลงที่โศกศัลย์ จึ่งผันพระพักตร์มาพิจารณาก็รู้ว่ายังไม่อาสัญ ™ ____________ ๑๘. อันสองกุมารนี้พี่ให้เป็นทานแก่พราหมณ์แต่วันวานนี้แล้ว ™ ____________ ๑๙. ท้าวเธอก็ชื่นบานด้วยปิยบุตรมิ่งมกุฎทานอันพิเศษ ™ ____________ ๒๐. ท้าวเธอทรงกระทำอนุโมทนาทานแห่งพระเวสสันดรราชฤๅษีผู้เป็นพระภัสดา แบบฝึกหัดที่ ๑. ๕ รู้ศัพท์จับคู่ จับคู่คำและความหมาย ด้วยการนำตัวอักษรหน้าความหมายมาเติมลงในช่องว่างหน้าเลขข้อ ™ ____________ ๑. กเลวระ ก. กำลังซน ™ ____________ ๒. เมิล ข. กล่าวโทษ ™ ____________ ๓.

บุหลันลอยเลื่อนฟ้าไม่ราคี รัศมีส่องสว่างดั่งกลางวัน " เป็นโวหารภาพพจน์ชนิดใด ๖. " เธอคือสายน้ำฉ่ำชื่นใจ จากวันนี้ไปฉันไม่ทุกข์ตรม " เป็นโวหารภาพพจน์ชนิดใด ๗. " น้ำพุพุ่งซ่าไหลมาฉาดฉาน เห็นตระการมันไหลจอกโครมจอกโครม " เป็นโวหารภาพพจน์ ๘. นวนิยายเรื่องใดผู้แต่งตั้งชื่อเรื่องโดยใช้ภาพพจน์แบบปฏิพากย์ ก. เขียนฝันด้วยชีวิต ข. เก้าอี้ขาวในห้องแดง ค. เด็ดดอกฟ้า ง. หงส์สะบัดลาย ๙. ข้อใดใช้โวหารเกินจริง ก. โอ้โอ๋อกพรชนกชนนีนี้จะแตกคราสักเจ็ดภาคภินทนาการ ข. พลางโอบอุ้มจุมพิตพักตร์พระหลานรักสองสายสมรเสมอเนตร ค. พระหลานหลวงประโคมดุริยะดนตรีแตรสังข์ทั้งปวงกึกก้องทั้งห้องพระโรงชัย ง. ก็เหตุไฉน จึ่งไอ้พวกพาลมิจฉาชาติชวนกันสรรแสร้งแกล้งสบประมาทนินทาต่อหน้า พระที่นั่ง ๑๐. ข้อใดใช้ภาพพจน์ " นามนัย " ก. น้องฝันว่าได้เอื้อมถึงอากาศ ประหลาดเด็ดสุริยาลงมาล่าง ข. เอ็งไปป่าพาไปแต่วันทอง ที่นั่งรองนั้นได้มาแต่ไหน ค. ครั้นรุ่งแจ้งแสงสางสว่างหล้า ทองประศรีตื่นตาหาช้าไม่ ง. เจ้าลืมนอนซ่อนพุ่มกระทุ่มต่ำ เด็ดใบบอนช้อนน้ำในไร่ฝ้าย ๑๑. ข้อใดใช้ภาพพจน์เช่นเดียวกับ " ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร ไม่สิ้นสุดความรักสมัครสมาน " ก.

  1. Spring home ราคา
  2. สาย dvi to vga
  3. Vivo y20 ราคาล่าสุด mobile
  4. แบบ แหวน ชาย ฉกรรจ์
  5. ระดับ เนื้อ สเต็ก ภาษาอังกฤษ
  6. บรม ราโชวาท ร 9
  7. ลิ้นชัก เหล็ก ใส่ เอกสาร ภาษี
  8. เบาะ xmax 300 series