Monday, 22 August 2022

ส. ค.

  1. ภาคใต้(South of Thailand) - วัฒนธรรมไทย
  2. เอกลักษณ์ของภาคใต้
  3. อาหารภาคใต้ อีกหนึ่งเอกลักษณ์ทางรสชาติอาหาร ที่ทำให้อาหารไทยโด่ดเด่น
  4. วัฒนธรรมภาคใต้ | วัฒนธรรมไทย สิ่งดีงามที่มีมาแต่สมัยโบราณ

ภาคใต้(South of Thailand) - วัฒนธรรมไทย

อาหารภาคใต้ กับเสน่ห์ของอาหารที่เป็น เอกลักษณ์อาหารไทย ที่ทั่วโลกต่างให้การยอมรับจะมีความน่าสนใจอย่างไรบ้าง?

เอกลักษณ์ของภาคใต้

(บรรณาธิการ). (2556). เมนูปักษ์ใต้ หรอยจังฮู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แสงแดด.

กลุ่มเชื้อสายจีน – มาลายู เรียกชนกลุ่มนี้ว่ายะหยา หรือ ยอนย่า เป็นกลุ่มชาวจีน เชื้อสายฮกเกี๊ยนที่มาสมรสกับชนพื้นเมืองเชื้อสายมาลายู ชาวยะหยาจึงมีการแต่งกายอันสวยงาม ที่ผสมผสาน รูปแบบของชาวจีนและมาลายูเข้าด้วยกันอย่างงดงาม ฝ่ายหญิงใส่เสื้อฉลุลายดอกไม้ รอบคอ, เอว และปลายแขนอย่างงดงาม นิยมนุ่งผ้าซิ่นปาเต๊ะ ฝ่ายชายยังคงแต่งกาย คล้ายรูปแบบจีนดั้งเดิมอยู่ 2. กลุ่มชาวไทยมุสลิม ชนดั้งเดิม ของดินแดนนี้นับถือศาสนาอิสลาม และมี เชื้อสายมาลายู ยังคงแต่งกายตามประเพณี อันเก่าแก่ฝ่ายหญิงมีผ้าคลุมศีรษะ ใส่เสื้อผ้ามัสลิน หรือลูกไม้ตัวยาวแบบมลายูนุ่งซิ่นปาเต๊ะ หรือ ซิ่นทอแบบมาลายู ฝ่ายชายใส่เสื้อคอตั้ง สวมกางเกงขายาว และมีผ้าโสร่งผืนสั้น ที่เรียกว่า ผ้าซองเก็ต พันรอบเอวถ้าอยู่ บ้านหรือลำลองจะใส่โสร่ง ลายตารางทอด้วยฝ้าย และสวมหมวกถักหรือ เย็บด้วยผ้ากำมะหยี่ 3. กลุ่มชาวไทยพุทธ ชนพื้นบ้าน แต่งกายคล้ายชาวไทยภาคกลาง ฝ่ายหญิงนิยมนุ่งโจงกระเบน หรือ ผ้าซิ่นด้วย ผ้ายกอันสวยงาม ใส่เสื้อสีอ่อนคอกลม แขนสามส่วน ส่วนฝ่ายชายนุ่งกางเกงชาวเล หรือ โจงกระเบนเช่นกัน สวมเสื้อผ้าฝ้ายและ มีผ้าขาวม้าผูกเอว หรือพาดบ่าเวลาออกนอกบ้านหรือไปงานพิธี

อาหารภาคใต้ อีกหนึ่งเอกลักษณ์ทางรสชาติอาหาร ที่ทำให้อาหารไทยโด่ดเด่น

  • เฉลย แบบ ฝึก
  • หัวเว่ย y7 pro 2019 price
  • งาน อุทยาน ร 2.3
  • เลขงวด 1 11 64 scale
  • ตกปลาช่อน ตอนกลางวัน
  • ภาคใต้(South of Thailand) - วัฒนธรรมไทย
  • สละสุมาลี -
  • ตรวจลอตเตอรี่16 พฤศจิกายน 2564
  • Blog Ying : วัฒนธรรมการสร้างบ้านเรือนในภาคใต้
  • ชักโครก มี กี่ แบบ
  • ฟุต แว ร์
  • ตรวจหวยฮานอย 24/2/65 ส่องผลล่าสุด หวยเวียดนาม วันนี้
บจก. ตี๋ฟันทองการไฟฟ้า 18/111-2 ซอยเทียนทะเล 19 ถนนบางขุนเทียน-ชายทะเล แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร 10150 ติดต่อเรา 02-897-4426 087-499-4343 081-422-3407 081-346-3733 061-475-8683 02-897-4427 เวลาทำการ จันทร์ - เสาร์ 9. 00 - 18. 00 ติดตามข่าวสาร savesam Asset 1 LINE: kungtsp LINE: kungtsp2 LINE: @tbl9561r YouTube @tsp_teephanthong

วัฒนธรรมภาคใต้ | วัฒนธรรมไทย สิ่งดีงามที่มีมาแต่สมัยโบราณ

1. แบบเป็นกระจุก 2. แบบกระจัดกระจาย 3. แบบเรียงรายไปตามแนวชายฝั่งทะเล หรือเส้นทางสัญจร ในฐานะที่ปัตตานีเป็นศูนย์กลางการค้าขายทางทะเลมาตั้งแต่สมัยกรุง ศรีอยุธยา รูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นบ้านจึงมีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่หลากหลาย คือ นอกจากจะเป็นเรือนไม้ยกพื้นใต้ถุนสูง ซึ่งเป็นลักษณะร่วมทางสถาปัตยกรรมพื้นฐานของภูมิภาคศูนย์สูตรแล้ว ยังมีลักษณะรูปทรงหลังคาที่โดดเด่นเป็นพิเศษ โดยทั่วไปหลังคาเรือนไทยมุสลิมจะมี 3 ลักษณะ ดังนี้คือ 1. หลังคาปั้นหยา หรือหลังคาลีมะ คำว่า " ลีมะ " แปลว่า " ห้า " หมายถึงหลังคาที่นับสันหลังคาได้ 5 ล้น เป็นรูปทรงหลังคาที่ได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบอาณานิคมของชาวตะวันตก หลังคาทรงปั้นหยานี้นับได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้ และพบได้ทั่วไปในจังหวัดภาคใต้โดยเฉพาะในจังหวัดปัตตานี 2.

ภาคใต้ลักษณะอากาศมีฝนตกชุก มีลมและลมแรงตลอดปี บ้านเรื้องจึงมักมีหลังคา เตี้ยลาดชันเป็นการลดการประทะของแรงลม เมื่อฝนตกจะทำให้น้ำไหลได้เร็วขึ้นจะทำให้หลังคาแห้งไวด้วย 2. ฝาเรือนเป็นไม้กระดานตีเกล็ดในแนวนอน เพื่อลดแรงต้านของลม 3. เป็นเรือนใต้ถุนสูงเสาบ้านไม่ฝังลงดินเพราะดินทรุดง่ายจึงใช้วิธีหล่อซีเมนต์ เป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดโตกว่าเสาปกติความสูประมาณ 3 ฟุตเพื่อวางเสาเรียกว่า"ตีนเสา"นอกจากนี้ยังป้องกันปลวกและเชื้อราด้วย 4.

หลังคาจั่ว ชาวมุสลิมเรียกว่า " แมและ " เชื่อ ว่าได้รับอิทธิพลจากเรือนไทยภาคกลาง แต่จะมีข้อแตกต่างไปจากภาคกลาง ตรงที่มีปั้นลมปีกนกที่ได้รับอิทธิพลจากรูปแบบสถาปัตยกรรมจากมาเลเซีย ไม่เหมือนปั้นลมไทย ซึ่งปลายปั้นลมทั้งสองข้างจะมีเหงาปั้นลมประดับอยู่ นอกจากหลังคาทั้ง 3 แบบดังกล่าวแล้ว เรือนชาวไทยมุสลิมโบราณในจังหวัดปัตตานียังมีลักษณะเด่น คือ การประดิษฐ์ลวดลายไม้แกะสลักทั้งบริเวณช่องลมและประดับฝาเรือนอีกด้วย ที่มา:

กลุ่มเชื้อสายจีน – มาลายู เรียกชนกลุ่มนี้ว่ายะหยา หรือ ยอนย่า เป็นกลุ่มชาวจีน เชื้อสายฮกเกี๊ยนที่มาสมรสกับชนพื้นเมืองเชื้อสายมาลายู ชาวยะหยาจึงมีการแต่งกายอันสวยงาม ที่ผสมผสาน รูปแบบของชาวจีนและมาลายูเข้าด้วยกันอย่างงดงาม ฝ่ายหญิงใส่เสื้อฉลุลายดอกไม้ รอบคอ, เอว และปลายแขนอย่างงดงาม นิยมนุ่งผ้าซิ่นปาเต๊ะ ฝ่ายชายยังคงแต่งกาย คล้ายรูปแบบจีนดั้งเดิมอยู่ 2. กลุ่มชาวไทยมุสลิม ชนดั้งเดิม ของดินแดนนี้นับถือศาสนาอิสลาม และมี เชื้อสายมาลายู ยังคงแต่งกายตามประเพณี อันเก่าแก่ฝ่ายหญิงมีผ้าคลุมศีรษะ ใส่เสื้อผ้ามัสลิน หรือลูกไม้ตัวยาวแบบมลายูนุ่งซิ่นปาเต๊ะ หรือ ซิ่นทอแบบมาลายู ฝ่ายชายใส่เสื้อคอตั้ง สวมกางเกงขายาว และมีผ้าโสร่งผืนสั้น ที่เรียกว่า ผ้าซองเก็ต พันรอบเอวถ้าอยู่ บ้านหรือลำลองจะใส่โสร่ง ลายตารางทอด้วยฝ้าย และสวมหมวกถักหรือ เย็บด้วยผ้ากำมะหยี่ 3. กลุ่มชาวไทยพุทธ ชนพื้นบ้าน แต่งกายคล้ายชาวไทยภาคกลาง ฝ่ายหญิงนิยมนุ่งโจงกระเบน หรือ ผ้าซิ่นด้วย ผ้ายกอันสวยงาม ใส่เสื้อสีอ่อนคอกลม แขนสามส่วน ส่วนฝ่ายชายนุ่งกางเกงชาวเล หรือ โจงกระเบนเช่นกัน สวมเสื้อผ้าฝ้ายและ มีผ้าขาวม้าผูกเอว หรือพาดบ่าเวลาออกนอกบ้านหรือไปงานพิธี กลับหน้า
  1. Living home furniture หนองแขม
  2. ขาย ซูชิ ตลาดนัด
  3. I5 เจน 6 x
  4. มายเพลส ภูเก็ต แอร์พอร์ต แมนชั่น
  5. ปลา ห ลด ราคา
  6. Honda ev ราคา
  7. คลองเตย ดี จัง
  8. ต๊อกบกกี แมคโคร
  9. ดูลองของ 2
  10. L4d2 hentai mod.uk
  11. ราคา พระ พิฆเนศ รุ่น สำริด สำเร็จ สมปรารถนา
  12. สาว สอง พะเยา หาเพื่อน